1.8.54

Logistics Management and supply chain management for 3 PL VS Customer relationship / reference คุณ ณัฐภูมิ เปาวรัตน์

Logsitics management

Definition:
Logistics management is that part of supply chain management that plans, implements, and controls the efficient, effective forward and reverse flow and storage of goods, services and related information between the point of origin and  the point of consumption in order to meet customers' requirements

Boundaries and Relationships:
Logistics management activities typically include :
 inbound and outbound transportation management, fleet management,
 warehousing,
 materials handling,
 order fulfillment,
 logistics network design,
 inventory management,
 supply/demand planning, and management of third-party logistics services providers.

To varying degrees, the logistics function also includes sourcing and procurement, production planning and scheduling, packaging and assembly, and customer service. It is involved in all levels of planning and execution--strategic, operational and tactical.
Supply Chain management

Supply chain management encompasses the planning and management of all activities involved in sourcing and procurement, conversion, and all logistics management activities. Importantly, it also includes coordination and collaboration with channel partners, which can be suppliers, intermediaries, third party service providers, and customers. In essence, supply chain management integrates supply and demand management within and across companies.

Boundaries and Relationships:
Supply chain management is an integrating function with primary responsibility for linking major business functions and business processes within and across companies into a cohesive and high-performing business model.
It includes all of the logistics management activities noted above, as well as
 manufacturing operations, and it drives coordination of processes and activities with and across
 marketing,
 sales,
 product design,
 finance,
 and information technology

Manufacture of Commodity Products Shifting to Asia

“If you consider that you can fly virtually anywhere in the world within thirty hours, why should it not be possible to do that with a box?”
Director Of Worldwide Distribution, IBM


“In the PC industry, there is a major move towards outsourcing manufacturing to contract manufacturers in Asia … I believe that there will be more of this in the future because the manufacturing economics are so attractive and, in Asia anyway, the inbound logistics are cheaper, offsetting some of the added cost for outbound logistics.”
Acting VP, Compliance And Delivery, Dell

Building Outsourcing Relationship (The Core Competency for Logistics Sevices proviuder)




Trouble signs
Inability of outsourcing company to share detailed, accurate operational data
Sometimes coupled with desire to negotiate contract terms based on invalidated data
Lack of internal consensus on outsourcing strategy
Lack of collaborative approach to contract negotiation
Win-Lose contracts = Lose-Lose
Unrealistic expectations
e.g., timeframe for people transition, systems transition, etc.

Key to success
3PL: Anticipate problems and have the discipline to say “STOP!”
Customer: Have your house in order
Strategic consensus
Solid data
Realistic objectives reached collaboratively with partner

service vs relationship
Our industry measures quality of the relationship differently than quality of the service
Service Quality
Objective
Quantitative
Structured methodology  and follow-up

Relationship Quality
Subjective
Qualitative
Less structured methodology and follow-up
Closing thoughts
Managing mutually beneficial outsourcing partnerships is hard work and requires an investment of people, time and money.
Principles of quality management can apply to relationships
The best relationships are highly collaborative.
A successful outsourcing project cannot be done to you or for you, it must be done with you.



Who we are
A leading asset-based Logistics Service Provider in Thailand to support
customers both domestic and overseas with integrated logistics services.
Our customers take full advantage of the benefits that accrue from the
outsourcing of logistics activities for both general and DG cargo including
Free Zone area.

Service Scope
Warehouse Management
Distribution & Transportation Management
General Goods Logistics Services
Free Zone Logistics Services
Dangerous Goods logistics Services
Integrated Logistics Services and Value Added Services

Greater BKK



                                                        

                  

     





















LCB-DG Logistics Center

FACTS
  Customs house on site
  Total Yard Area: 100,000 s.qm
  Total storage area: 9,800 sq.m       
  No of storage facilities: 2 UNITs
  Floor loading factor: 2.0 ton/sq.m
  Products: Suitable Storage for all Dangerous Goods cargo by Thai Laws (class 2 – 9)
  Type of Storage: Ambient / Air-conditioned , if requested
  Full function Fire fighting system
  CCTV control systems
  Sophisticated Warehouse Management System (WMS)
  LAN based office
  On-site security guards
      (24 hours a day, 365 days a year)

LCB and LFZ Logistics Center
FACTS
  Investment Total for LCB site: THB 350 mio  
  Operation start: November 2004
  Area Total: 80,000 s.qm (50 Rai)
  Total storage area: 18,240 sq.m + 18,240 sq.m.      
  No of storage facilities: 2 + 2 UNITS
  Dimension:  L 152 m x W 60 m x H 10 m
  Floor loading factor: 3.5 ton/sq.m
  Products: Suitable Storage for most of General cargo
  Type of Storage: Ambient / Air-conditioned , if requested
  Weigh-scale : 80 tons load capacity
  Fire fighting system
  CCTV control systems at loading docks
  25 docking bays with hydraulic dock levelers
  Sophisticated Warehouse Management System (WMS)
  LAN based office
  On-site security guards
      (24 hours a day, 365 days a year)

FreeZone logistics Center


               

         The advantages of using the freezone

 For examples:
Relief from Import and Internal Taxes/Duties
Relief from Export Duty on Re-Exports
Relief from Standard/Quality
Duty Exemption on Waste, Scrap and Yield Loss
Eligible for Export Tax Refund/Exemption Schemes

Why LCB become strategic location
Major Import&Export Hub of Thailand (LCB area)
  Easy Access to LCB Port and Cities Nearby
  Situated immediately Only Minutes to Port
  24 hours traffic flow without truck banned
  High accessibility for both inbound and outbound
  Avialability for sea freight arrangement

Case study no. 1
(Optimization Supply Chain Management for Export Hub)
Case study SCC-DOW




Product
Polyethylene (Plastic Resins)
Requirements
Optimization of supply chain management
Improvement
Increase operating performance    
relocate warehouse to port to overcome road loading limitation and shorten lead time from plant to LCB  port
pre-load container shipment at container shipment at container depot
Space utilization / indirectly increase production capativity
JWD has been award safety and security certification from SCC-DOW group
For examples:
- Contractor EH&S Performance in recognition of outstanding 250,000 working hours year 2003
 - Contractor EH&S Performance in recognition of outstanding 300,000 working hours year 2004
 - Contractor EH&S Performance in recognition of contribution to 5 years of ZERO reportable transportation incident Achievement during 2002-2006

Case study no. 2
(Optimization Supply Chain Management for DC in Bangkok)

Case Study ZI-Techasia Product  Industrial/ chemicals with more than 8,000 SKUs                
Requirements
  Nationwide Distribution
  Sales & Order processing
  Storage in temperature-controlled and ambient rooms
  Product segregation
  Kitting, Labeling and ticketing
  Quality control
Solution
  Strategic warehouse in the outskirt of Greater Bangkok
  Linkage system for sales order processing
  Customization of warehouse: set up of w/h office and
   cold storage rooms
  Set-up of selective rack-system and shelves
  Implementation of sophisticates Warehouse Management System
  Reverse logistics to fulfill return products for transportation optimization

Thai version: การบริหารการขนส่ง และการบริหารห่วงโซ่อุปทาน สำหรับ 3PL เมื่อเทียบกับ ความสัมพันธ์กับลูกค้า/ reference คุณ ณัฐภูมิ เปาวรัตน์

การบริหารการขนส่ง
ความหมาย:
การบริหาการขนส่ง เป็นส่วนหนึ่งของการบริหารห่วงโซ่อุปทานซึ่งเป็นการวางแผน ใช้งาน และควบคุมความเป็นระบบระเบียบ ทั้งการส่งและรับสินค้า รวมทั้งการให้บริการและการให้ข้อมูลว่าสินค้าทั้งหลายมีต้นกำเนิดมาจากที่ใด และปลายทางอยู่ที่ใด

ขีดจำกัดและความสัมพันธ์:
การบริหารการขนส่งมีดังนี้:
 การขนส่งภายในและภายนอก และการขนส่งโดยมวล
 การกักเก็บสินค้า
 การใช้วัสดุ
 การสั่งซื้อของ
 รูปแบบการขนส่ง
 การบริหารการจัดเก็บสินค้า

การวางแผนในเรื่องของอุปสงค์และอุปทาน และการบริหารบุคคลที่สามที่ให้บริการในการขนส่งสินค้า
การบริหารการขนส่งสินค้ายังรวมถึงการสั่งซื้อ การวางแผนการผลิต การวางแผนตารางเวลาในการส่งของ การบรรจุและการประกอบสินค้า และการให้บริการที่ดีต่อลูกค้า ซึ่งสิ่งต่างๆเหล่านี้ล้วนอยู่ในการวางแผนและการจัดการของการขนส่งสินค้าทั้งสิ้น

การบริหารห่วงโซ่อุปทาน
ความหมาย:
การบริหารห่วงโซ่อุปทาน เป็นการวางแผนการบริหารจัดการในหลายๆด้าน เช่น การสั่งซื้อของ การแปรรูปสินค้า และการบริหารการขนส่งสินค้า ทั้งนี้จะรวมไปถึงการวางแผนการประสานงานกับผู้บริหารห่วงโซ่อื่นๆ ซึ่งอาจจะเป็นทั้งผู้ผลิตสินค้า ผู้ซื้อขายคนกลาง บุคคลที่สาม หรือลูกค้า
โดยรวมแล้วการบริหารห่วงโซ่อุปทานจะรวมการบริหารอุปสงค์และอุปทานทั้งภายในและภายนอกบริษัทเรา

การบริหารห่วงโซ่อุปทาน
ขีดจำกัดและความสัมพันธ์:
การบริหารห่วงโซ่อุปทานเป็นการ รวมตัวการบริหารจัดการของหน่วยงานหลายๆหน่วยงานของบริษัทหลากหลาย ซึ่งเป็นการรวมการบริหารจัดการขององค์กรหลายองค์กรเข้าด้วยกันเพื่อที่จะได้ผลลัพธ์ออกมาเป็นรูปแบบธุรกิจอันหนึ่ง ที่มีสมรรถภาพสูง โดยรวมถึงการบริหารจการขนส่งที่กล่างไว้ข้างต้นและยังมีเพิ่มดังนี้
-ขั้นตอนการผลิต ซึ่งจำเป็นต้องมีการบริหารการประสานงาน ของขั้นตอนต่างๆทั้งภายในและภายนอกบริษัท 
 -การตลาด
 -การขาย
 -การออกแบบสินค้า
 -การเงิน
 และเทคโนโลยีสารสนเทศ

การผลิตสินค้าต่างๆ เริ่มมีการเปลี่ยนจุดการผลิตมายังเอเซีย
“ถ้าคุณคิดว่าคุณสามารถบินไปได้ที่ไหนของโลกภายใน 30 ชั่วโมง ทำไมกล่องจะทำไม่ได้เช่นกัน?”
Director Of Worldwide Distribution, IBM

       “ในตลาดของคอมพิวเตอร์นั้น ได้มีการเคลื่อนย้ายการผลิตไปยังผู้รับเหมาการผลิตมากมายในทวีปเอเซีย ผมเชื่อว่า สิ่งนี้มีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นอีกเรื่อยๆ เนื่องจากตลาดการผลิตในเอเซียมีความน่าสนใจมากทีเดียว ค่าขนส่งภายในประเทศมีราคาถูกกว่า ซึ่งสามารถทำให้เกิดความสมดุลโดยรวมของค่าใช้จ่าย เมื่อมารวมกับค่าส่งออกของสินค้า”
Acting VP, Compliance And Delivery, Dell

Source: Third party interviews








                  



ทำไมความสัมพันธ์กับผู้ให้บริการนอกองค์กรจึงล้มเหลว?
ทำไมความสัมพันธ์กับผู้ให้บริการนอกองค์กร “ในด้านการบริการขนส่ง” จึงล้มเหลว?

สัญญานว่าอาจมีปัญหา
-การที่ผู้ให้บริการนอกองค์กรไม่ให้ข้อมูลที่ละเอียด และตรงตามความเป็นจริง
บางครั้งรวมถึงความต้องการที่จะต่อรองเงื่อนไขสัญญา โดยใช้ข้อมูลที่ยังไม่ได้ทำให้เกิดความแน่ชัด มาเป็นตัวต่อรองการบริการของตน
-การขาดความเป็นเอกฉันท์ในการตกลงใช้มาตรการและยุถวิธีในการใช้บริการนอกองค์กร
-การขาดการประสานงานที่ดีในการต่อรองเรื่องสัญญา  
สัญญาที่   ได้เปรียบ – เสียเปรียบ   =   ล้มเหลว  – ล้มเหลว
-ความคาดหวังที่เป็นไปไม่ได้
เช่น การบริหารเวลาสำหรับการเคลื่อนย้ายบุคคล, การเคลื่อนย้ายระบบ, ฯลฯ

พื้นฐานของความสำเร็จ
3PL: อย่าให้วัวหายแล้วล้อมคอก
ลูกค้า: จัดระบบระเบียบตัวเองให้เรียบร้อย
-ตกลงกันในเรื่องของยุถวิธี
-ข้อมูลที่ถูกต้อง
-เป้าหมายที่เป็นไปได้ในความเป็นจริง โดยมีการประสานงานที่ดีกับผู้เกี่ยวข้อง
-บริการกับความสัมพันธ์

ธุรกิจของเราวัดคุณภาพที่ความแตกต่างของบริการ
คุณภาพของการบริการ
-วัตถุประสงค์
-ปริมาณ
-วิธีการจัดโครงสร้างและการติดตาม

ความสัมพันธ์กับคุณภาพ
-บริการที่คาดหวัง
-คุฌภาพ
-ขาดโครงสร้งทางธุรกิจและการติดตาม

ปิดท้ายด้วยความคิด
การบริหารจัดการของการรับเหมาเป็นงานที่หนักและมีความจำเป็นในการลงทุนมากในเรื่องของบุคลากร เงินลงทุน และ เวลา
-หลักการของการบริหารจัดการอย่างมีความคุณภาพสามารถนำมาใช้กับความสัมพันธ์นี้
ความสัมพันธ์ที่ดีที่สุดคือการทำงานร่วมกัน โครงการจ้างช่วงที่ประสบความสำเร็จไม่สามารถที่จะใช้หลักการที่ว่า ทำเพื่อคุณหรือสำหรับคุณ แต่จะต้องทำกับคุณเท่านั้น

เราคือใคร??
ผู้ให้บริการโลจิสติกชั้นนำในประเทศไทยให้การสนับสนุนลูกค้าทั้งในประเทศและต่างประเทศแบบบูรณาการลูกค้าของเราใช้ประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการจ้างของกิจกรรมโลจิสติทั้งทั่วไปและการขนส่งสินค้าและสินค้าอันตรายรวมทั้งพื้นที่ฟรีโซน ขอบเขตการให้บริการการจัดการคลังสินค้าการจัดจำหน่ายและการจัดการการขนส่งบริการทั่วไปสินค้าจิสติกส์บริการฟรีโซนโลจิสติกบริการโลจิสติกอันตรายสินค้า บริการโลจิสติกส์ครบวงจรและมูลค่าเพิ่ม

ข้อเท็จจริง
   บริการศุลกากรเบ็ดเสร็จ
   เนื้อที่ลานรวม : 100,000 ตารางเมตร

  
พื้นที่จัดเก็บ  : 9,800 ตารางเมตร
   จำนวนคลังอำนวยความสะดวกการเก็บรักษา : 2 หน่วยงาน
   ความสามารถในการรับน้ำหนักของพื้นคลังสินค้า : 2.0 ตัน / ตาราง  เมตร
   สินค้า : การเก็บรักษาเหมาะสำหรับทุกสภาพสินค้าสินค้าที่เป็น       อันตรายตามกฎหมายไทย (ชั้น 2 -- 9)
   ประเภทของการจัดเก็บ :
Ambient / เครื่องปรับอากาศถ้ามีการร้องขอ
   ระบบดับเพลิงเต็มรูปแบบ
   ระบบควบคุมกล้องวงจรปิด
   การบริหารจัดการคลังสินค้าระบบที่ซับซ้อน (
WMS)
  
สำนักงานระบบ LAN
  
ยามรักษาความปลอดภัย
   (24 ชั่วโมงต่อวัน, 365 วันต่อปี)

ผลประโยชน์ในการใช้คลัง Free Zone
         การลดภาระจากการนำเข้าและภาษี
         การลดภาระจากอากรขาออกจากการ Re Export
         การลดภาระจากการควบคุมมาตรฐาน คุณภาพ
        ยกเว้นภาษีเกี่ยวกับการเสียเศษวัสดุและการสูญเสียผลผลิต
         มีสิทธิ์ได้รับการส่งออกและแบบแผนคืน / ยกเว้นรัษฎากร

ทำไมแหลมฉบังจึงเป็นจุดยุทธศาตร์
เป็นหลักและศูนย์กลางการส่งออกของประเทศไทย (พื้นที่แหลมฉบัง)
 ง่ายต่อการเข้าถึงที่เรือ และเมืองใกล้เคียงตั้งอยู่เพียงไม่กี่นาทีไปยังท่าเรือทันที
  การจราจร24ชั่วโมงโดยไม่มีกฏห้ามรถบรรทุกวิ่ง
  การเข้าถึงสะดวกสำหรับทั้งขาเข้าและขาออก
   มีความพร้อมสำหรับการจัดขนส่งทางทะเล

กรณีศึกษา ZI-Techasia
ผลิตภัณฑ์สารเคมี / อุตสาหกรรมที่มีกว่า 8,000 SKUs
ความต้องการ
   การจัดจำหน่ายทั่วประเทศ
 ฝ่ายการขายและการประมวลผลการสั่งซื้อ  
การจัดเก็บในห้องควบคุมอุณหภูมิและสภาพแวดล้อม   
การคัดแยกสินค้า  
Kitting การติดฉลากและตั๋ว  
การควบคุมคุณภาพ
คลังสินค้าเชิงกลยุทธ์ในรอบนอกของกรุงเทพฯและปริมณฑล
   ระบบเชื่อมโยงสำหรับการประมวลผลและใบสั่งขาย

   การปรับแต่งของคลังสินค้า : ที่ตั้งของสำนักงานคลัง ห้องเก็บความเย็น
   การเลือกใช้ระบบแร็คและชั้นวาง
   การดำเนินงานระบบการจัดการคลังสินค้าแบบทันสมัย          
การบริหารการขนส่งแบบไปกลับเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่ง

กรณีศึกษา SCC-DOW ผลิตภัณฑ์ พลาสติก เลซิน
การปรับปรุง
เพิ่มประสิทธิภาพการในทำงานปฏิบัติการ
:เคลื่อนย้ายคลังสินค้าไปยังท่าเรือเพื่อเอาแก้ปัญหาของข้อจำกัดน้ำหนักในการบรรทุกสินค้าบนถนนและลดระยะเวลาจากโรงงานกับท่าเรือแหลมฉบัง
         การจัดส่งสินค้าคอนเทนเนอร์แบบ Pre – โหลดจากสถานที่เก็บตุ้สินค้า
        เพิ่มสมรรถภาพในการใช้พื้นที่ รวมทั้งเพิ่มกำลังการผลิตทั้งทางตรงและทางอ้อม


คิดนอกกรอบ

ความคิดนอกกรอบอาจใช้ประโยชน์จากการเพิ่ม
ปริมาณความคิดให้เป็นทางเลือกได้หลาก
หลายยิ่งขึ้น อันอาจพิจารณาในด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้
 1.  สร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆการคิดนอกกรอบทำให้เกิดจินตนา-การที่ช่วยให้คิดและคาดการณ์สิ่งที่จะเกิดขึ้นในวันข้างหน้า มีความ
คิดในการที่จะทดลองความคิดใหม่ๆ และพร้อมที่จะแก้ไขเปลี่ยน-แปลงแนวคิดและวิธีการปฏิบัติงานที่ทำติดต่อกันมา โดยยอมรับในผลได้แบบเดิม เหมือนชาวนาที่ได้รับยกย่องว่าเป็นกระดูกสันหลังของ
ชาติ แต่เรามักเห็นซี่โครงเด่นชัด เพราะชาวนาที่ยังคิดติดกรอบว่าต้องขยันขันแข็ง หลังสู้ฟ้าหน้าสู้ดินพึ่งฝนฟ้า ถ้าปีไหนฝนไม่แล้งน้ำไม่ท่วม นาไม่ล่ม การเก็บเกี่ยวได้ผล ขายข้าวได้ราคาก็จะบวชลูกเพื่อเกาะชายผ้าเหลืองขึ้นสวรรค์ในชาติหน้า แต่ชาวนาที่คิดและทำตามทฤษฎีใหม่ทำไร่นาสวนผสมก็จะมีกินมีใช้ตลอดปีไม่ต้องจำนำข้าวเปลือกและกู้เงินนอกระบบมาซื้อปุ๋ยเคมีเหมือนที่ทำมาปีแล้วปีเล่า ก็จะมีชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง

2. พัฒนาคน 
การคิดนอกกรอบจะมีผลโดยตรงในการสร้างการเรียนรู้ แบบคิดใหม่ทำใหม่ด้วยความเชื่อ-มั่นในตนเอง ทำให้เกิดความรับผิดชอบสิ่งที่ตนเป็นเจ้าของความคิด มีความมุ่งมั่นรับผิดชอบให้ความคิดของ
ตนนำไปสู่ผลสำเร็จ มีความมานะและขยันอดทนมากกว่าการคิดติดกรอบอยู่แบบเดิม กล้าคิดกล้าแสดงออกด้วยความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ส่งผลให้เกิดความคิดในทางบวก ยอมรับพิจารณาความคิดที่แตกต่างมีทักษะในการฟังและตีความได้ดียิ่งขึ้น ยอมรับฟังคำวิพากษ์วิจารณ์และควบคุมอารมณ์ได้ มีความสามารถในการวิเคราะห์และแก้ปัญหาจากการคิดนอกกรอบกลายเป็นคนทันสมัย ทำงานฉับไว ทันเหตุการณ์ เพราะความคิดนอกกรอบ  ทำให้เป็นคนรอบรู้  มีความพากเพียรอดทน การประยุกต์ใช้ความคิดนอกกรอบในการพัฒนาคนควรคำนึงถึงแผนพัฒนาบุคลากรเป็นหลัก แต่ก็ไม่ควรนำแผนพัฒนาบุคลากรไปเป็นอุปสรรคสกัดกั้นไม่ให้มีความคิดนอกกรอบ เพราะความคิดนอกกรอบในทางบวกไม่ก่อให้เกิดผลร้ายใดๆ หากได้ มีการพิจารณาอย่างถี่ถ้วน

3.พัฒนางาน 
การนำความคิดนอกกรอบมาปรับปรุงและพัฒนางานเป็นสิ่งสำคัญ เพราะการทำงานในปัจจุบันมิใช่เพียงทำงานให้สำเร็จเท่านั้น จะต้องเทียบเคียงกับคู่แข่งและวัดรอยธุรกิจที่ใหญ่กว่าด้วย จึงต้องประยุกต์ใช้ความคิดนอกกรอบให้เกิดการพัฒนางานเป็นนวัตกรรมด้วยการคิดนำเทคโนโลยีใหม่มาใช้ให้เกิดผล ด้วยการมี มุมมองที่กว้างไกล แสวงหาความคิดที่จะนำมาปรับปรุงงานตามระบบไคเซ็นที่เป็นการคิดปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่อง แม้แต่จะเป็นการคิดปรับปรุงทีละเล็กทีละน้อยก็ตาม การคิดนอกกรอบจะช่วยในการบริหารงานด้วยการคิดว่ามีแผนงานและการทำงานเป็นขั้นตอนดีแล้วหรือยัง มีวิธีการทำงานเพียง
วิธีนี้วิธีเดียวเท่านั้นหรือ มีเครื่องมือ เครื่องใช้และอุปกรณ์เหมาะสมและเพียงพอแก่การทำงานให้ประสพความสำเร็จหรือไม่ หรือมีมากเกินความจำเป็นจะต้องลดลง หรือจัดรวมเข้าด้วยกัน จัดเรียบเรียงใหม่ หรือทำให้ง่ายขึ้น

4.พัฒนาองค์กร การคิดนอกกรอบที่จะนำไปสู่การพัฒนาองค์กร นอกเหนือจากการคิดปรับปรุงงานแล้ว ควรจะต้องเป็นความคิดที่สร้างจิตสำนึกต่อคุณภาพงาน อันจะมีผลต่อการพัฒนาองค์กร ดังนั้นจึงต้องส่งเสริมความคิดนอกกรอบเพื่อให้บุคลากรมีภาวะที่จิตตื่นและรู้ตัวสามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าในการทำให้องค์กรมีความ
เจริญเติบโตทั้งในการคิดและการตัดสินใจในการร่วมกันทำงานเป็นทีม เพื่อให้มีการร่วมในการทำงานอย่างแข็งขัน ด้วยการสนับสนุนซึ่งกันและกัน ทำงานให้บรรลุเป้าหมาย มีความเชื่อมั่นในองค์กร ด้วยการกระทำที่บ่งชี้ถึงความเข้าใจในวัตถุประสงค์และแนวทางการดำเนินงานขององค์กร มีความศรัทธาในอุดมการณ์และเป้าหมายขององค์การ ไม่ก่อให้เกิดความเสื่อมเสียใดๆ แก่องค์กร กระตือรือร้น
ที่จะปรับปรุงงานให้ดีขึ้นมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ความคิดนอกกรอบจะช่วยให้มีสายตายาวไกลมองไปข้างหน้าไม่ยึดติดกับอดีต หรือปัจจุบันพร้อมที่จะยอมรับความเปลี่ยนแปลง
ไม่ย่อท้อต่ออุปสรรคทุ่มเทเสียสละเพื่อส่วนรวม

5.เพิ่มประสิทธิภาพ 
การคิดนอกกรอบเพื่อให้เกิดประโยชน์ควรเป็นความคิดนอกกรอบที่ทำให้เกิดผลได้มากขึ้นด้วยการใช้ปัจจัยในการทำงาน ทั้งกำลังคน เงินทุน วัสดุและเวลาเท่าเดิม หรือคิดถึงการทำงานที่ทำให้เกิดผลได้เท่าเดิม แต่สามารถลดปัจจัยในการทำงานลงยิ่งสามารถเพิ่มผลได้และลดปัจจัยในการทำงานลงได้ยิ่งดี การคิดนอกกรอบสามารถคิดในทางเพิ่มผลได้ในเบื้องต้น แต่ถ้าหากมีอุปสรรค หรือข้อจำกัดในการเพิ่มผลได้ก็จะต้องคิดหาทางในการลดปัจจัยในการทำงาน เพราะในหลายกรณี การคิดหาทางปรับลดปัจจัยในการทำงานจะทำได้ง่ายและสะดวกกว่า การคิดนอกกรอบในการเพิ่มประสิทธิภาพสามารถทำได้เป็น
ส่วนบุคคลและใช้การคิดร่วมกันเป็นกลุ่ม ซึ่งจะช่วยส่งเสริมความร่วมมือร่วมใจทำงานเป็นทีมและได้รับการสนับสนุนความคิดนอกกรอบที่เกิดจากความเห็นพ้องต้องกันได้ดีกว่า

6.ทำให้เกิดประสิทธิผล
 การคิดนอกกรอบที่ยึดวัตถุประสงค์เป็นหลักจะช่วยให้ความคิดนอกกรอบได้รับการยอมรับ เพราะวัตถุ-ประสงค์ของทุกองค์กรก็เป็นสิ่งที่องค์กรต้องการให้เกิด ให้มี ให้เป็น หรือให้ได้รับ ดังนั้น ผู้ซึ่งคิดนอกกรอบจึงจำเป็นต้องศึกษาและทำความเข้าใจวัตถุประสงค์ขององค์กรให้ถ่องแท้ จะต้องนำวัตถุประสงค์ขององค์กรมากำหนดเป็นเป้าหมาย เป็นจำนวน หรือระดับที่สามารถวัดได้ หรือประเมินได้ ด้วยการเปรียบเทียบผลของการกระทำตามความคิดนอกกรอบ เปรียบเทียบกับเป้าหมายที่มีระยะเวลากำหนดไว้ การคิดนอกกรอบที่นำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ดังกล่าวมาข้างต้น สามารถจะพิจารณาแยกย่อยในการประยุกต์ใช้ในแต่ละกรณีเป็นการเฉพาะได้อีก ด้วยการเพิ่มมุมมองในการคิดนอกกรอบให้ตรงความต้องการ